- นิตยสาร Emigre (USA.) VS. นิตยสาร 8VO (UK.)
แนวคิด postmodern กับทฤษฎี “The New Discourse” ของ Cranbrook Academy of Art - Bauhaus’s Modernism
International Typographic Style (Swiss Style) ในสวิตเซอร์แลนด์และทั่วโลก - Basel School of Design ในสวิตเซอร์แลนด์
Armin Hofmann และ Wolfgang Weingart ใช้วิธีการสอน/ใช้แนวคิดแบบ postmodern - April Greiman
ผู้นำ (California) New Wave ใน USA. / ผลงานในยุค pre-digital และ post digital - Katherine McCoy
Deconstruction ทางความคิด / Cranbrook Academy of Art - Josef Muller-Brockmann นิตยสาร New Graphic Design
- การก่อตั้ง type foundry ในช่วงเริ่มต้นของยุคดิจิทัลและการใช้ e-commerce ในการจำหน่าย font
- Baskerville (1757) VS. Helvetica (1961) จัดจำหน่ายโดย Linotype
- นิตยสาร RayGun และ David Carson
- Bauhaus Style การใช้ grid / photomontage ฯลฯ
- Swiss Style การใช้ phototype setting (เทคโนโลยีการเรียงพิมพ์ด้วยแสง) ฯลฯ
- "ชวนพิมพ์” และ “มาณพติก้า” แบบตัวอักษรภาษาไทยที่ได้รับอิทธิพลจาก Helvetica
- "BLUR” font ออกแบบโดย Neville Brody
แบบตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ได้รับอิทธิพลจาก Helvetica - "Universal Alphabet” Font ที่ออกแบบโดย Herbert Bayer, 1925
- "Helvetica” สัญลักษณ์ของ Modernist’s Sans Serif
- Experimental Jetset / Michael C. Place / Norm คนรุ่นใหม่ที่ยังชื่นชมและใช้ Helvetica ในงานออกแบบ
- Erik Spiekermann นักออกแบบ typeface ชาวเยอรมนี
- Wim Crouwel นักออกแบบ typeface ชาวดัชต์ (เนเธอร์แลนด์)
- Jonathan Hoefler & Tobias Frere-Jones (H&FJ) นักออกแบบ typeface รุ่นใหม่
เสนอในวันอังคารที่ 29 ธ.ค. 52 ในชั่วโมงเรียน สิ่งที่จะต้องส่งมีดังนี้
- ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลโดยละเอียดและภาพประกอบของหัวข้อที่กลุ่มตนได้รับมอบหมาย นำไป up load บน blog ของตนและทำเป็น pdf ไฟล์
- นำเนื้อหาสรุป ใจความสำคัญจากข้อ 1 มาออกแบบ poster ขนาด A2 จำนวนอย่างน้อย 2 แผ่นขึ้นไป
- present รายละเอียดของหัวข้อที่ศึกษาค้นคว้ามาในรูปแบบ pdf ไฟล์ ฉายผ่าน projector กลุ่มละอย่างน้อย 5 นาที
- ส่งแผ่น cd จำนวน 2 แผ่น ที่รวบรวมงานในข้อ 1, 2, 3 ของทุกกลุ่ม โดยสร้าง folder ของแต่ละกลุ่มและรวบรวมลงในแผ่น cd สำหรับ อ.บอลล์และ อ.บลู
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น